ท๓๐๑๐๒ ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร ๒ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔

ยินดีต้อนรับสู่บล็อกการเรียนการสอน รายวิชา ท๓๐๑๐๒ ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร ๒ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ครับ

วันเสาร์ที่ 5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2554

แบบฝึกเรื่อง สาเหตุของการเขียนสะกดคำผิด

กิจกรรมเรื่องการเขียนสะกดคำ

แบบฝึกตอนที่ ๑: การเขียนสะกดคำผิดเพราะออกเสียงไม่ถูกต้อง

ก. ให้นักเรียนเขียนคำต่อไปนี้ให้ถูกต้อง

คำเดิม
คำใหม่
คำเดิม
คำใหม่
ตะคิว
ตะคริว
เพรียบพร้อม
เพียบพร้อม
ก๊วยเตี๊ยวลาดหน้า
ก๋วยเตี๋ยวราดหน้า
ซากสลักหักพัง
ซากปรักหักพัง
ถนนราดยาง
ถนนลาดยาง
ฝีมือปราณีต
ฝีมือประณีต

ข. ให้นักเรียนเลือกคำที่สะกดถูกต้องมากเติมลงในช่องว่าง

     ๑. เขาชอบแสดงกิริยา............................................(ลุกลี้ลุกลน/ลุกลี้รุกรน) ไม่เรียบร้อยเลย
     ๒. นายชอบ............................................(ผลัดวันประกันพรุ่ง/ผัดวันประกันพรุ่ง) เป็นประจำ
     ๓. ลุงทองดีคิดจะ............................................ (ลามือ/รามือ) จากการเป็นนักเลงเสียที
     ๔. สมภพมักจะ..........................(ปราย/ปลาย) ตาไปทางสมศรีอยู่บ่อยๆ
     ๕. ชัยวัฒน์และญาณีตกลงใจจะ............................................(ร่วมหอลงโรง/ร่วมหอลงโลง) กัน

แบบฝึกตอนที่ ๒: การเขียนสะกดคำผิดเพราะใช้แนวเทียบผิด
          ให้นักเรียนแก้ไขคำที่เขียนสะกดผิดให้ถูกต้องและเขียนคำที่เป็นแนวเทียบที่ทำให้สะกดผิด ลงในช่องว่างที่กำหนดให้

คำสะกดผิด
คำสะกดถูก
คำที่ใช้เป็นแนวเทียบ
บอระเพชร
บอระเพ็ด
เพชร/เพชรพลอย
ดอกจันทร์ (เครื่องหมาย)
ดอกจัน
ดวงจันทร์/พระจันทร์
กำพืช
กำพืด
พืช/วัชพืช
อานิสงฆ์
อานิสงส์
พระสงฆ์
กล้วยบวดชี
กล้วยบวชชี
แกงบวด
ความผาสุข
ความผาสุก
ความสุข
ละคร ๑ องค์
ละคร ๑ องก์
พระองค์/องค์
เนรมิตร
เนรมิตร
มิตร
ภาพยนต์
ภาพยนตร์
รถยนต์/เครื่องยนต์
 
แบบฝึกตอนที่ ๓: การเขียนสะกดคำผิดเพราะไม่เข้าใจความหมายของคำพ้องเสียง
          นักเรียนนำคำที่กำหนดให้ต่อไปนี้เติมลงในช่องว่างให้ความหมายถูกต้อง
ขรรค์   ขัณฑ์   ขันธ์     ขัน
พรรษ์   พรรณ  พัน       ภัณฑ์   พรรค์   พันธ์     พันธุ์
สรร      สรรค์   สัน       สันต์
๑. อาร์มช่วยหยิบ   ขัน   ตักน้ำให้เราหน่อย
๒. พระพุทธองค์ทรงสั่งสอนพุทธบริษัทเรื่อง   ขันธ์   ห้า
๓. เทวดาถือพระ   ขรรค์   เป็นอาวุธ
๔.                มาจะกล่าวบทไป                   ถึงเด็กน้อยคนัคนขยัน
อยู่ทับแทบป่าพนาวัน                       ชายเขต   ขัณฑ์   พัทลุงพารา
๕.   พัน   หมายถึง ถูกกระหวัด/จำนวนสิบเท่าของหนึ่งร้อย
๖.    พันธ์   หมายถึง เชื่อมโยง เกี่ยวข้อง
๗.    พันธุ์   หมายถึง  วงศ์วาน เชื้อสาย
๘.    พรรณ   หมายถึง สีของผิว
๙.    ภัณฑ์   หมายถึง ของ สิ่งของ
๑๐.    พรรค์   หมายถึง หมู่คนที่รวมกันเข้าเป็นพวกเป็นฝ่าย
๑๑.   พรรษ์   หมายถึง ฝน หรือปี
          ๑๒. ผ้าผืนนั้นสี   สัน   สวยงามเหลือเกิน
          ๑๓. นักออกแบบต้องมีความคิดสร้าง   สรรค์   อยู่เสมอ
          ๑๔.    สันต์   หมายถึง สงบเงียบ
          ๑๕. เราต้องเลือก   สรร   สิ่งที่ดีสำหรับชีวิต

แบบฝึกตอนที่ ๔: การเขียนสะกดคำผิดเพราะมีประสบการณ์มาผิด
          นักเรียนขีดเส้นใต้คำที่เขียนสะกดคำผิดและแก้ให้ถูกต้อง ลงในช่องว่างที่กำหนดให้

ตัวอย่างประโยค
คำที่สะกดถูกต้อง
๑. อาหารจานนี้รสชาติไม่ดีเลยกลิ่นก็ไม่น่าพิศมัย
พิสมัย
๒. เลือดในกายเรานี้สีแดงชาติ เกียรติองอาจปรากฏอยู่คู่แผ่นดิน
ชาด
๓. การทำงานแกะสลักต้องอาศัยความปราณีตสูง
ประณีต
๔. คนเราเกิดมาต้องต่อสู้ไขว่คว้า มิใช้จะรอประสพแต่โชคดีถ่ายเดียว
ประสบ
๕. หากบ้านเมืองสอาดตาก็ย่อมก่อให้เกิดความผาสุกแก่ประชาชน
สะอาด
๖. ตามประวัติศาสตร์ โรคภูมิแพ้ที่รุนแรงเป็นผลจากเกษรของดอกไม้
เกสร
๗. ฉันอยากดูโทรทัศน์รายการอาถรรพวันศุกร์จังเลย
อาถรรพ์/อาถรรพณ์

กิจกรรมเรื่องการเขียนสะกดคำ

แบบฝึกตอนที่ ๑: การเขียนสะกดคำผิดเพราะออกเสียงไม่ถูกต้อง

ก. ให้นักเรียนเขียนคำต่อไปนี้ให้ถูกต้อง

คำเดิม
คำใหม่
คำเดิม
คำใหม่
ตะคิว
ตะคริว
เพรียบพร้อม
เพียบพร้อม
ก๊วยเตี๊ยวลาดหน้า
ก๋วยเตี๋ยวราดหน้า
ซากสลักหักพัง
ซากปรักหักพัง
ถนนราดยาง
ถนนลาดยาง
ฝีมือปราณีต
ฝีมือประณีต

ข. ให้นักเรียนเลือกคำที่สะกดถูกต้องมากเติมลงในช่องว่าง

     ๑. เขาชอบแสดงกิริยา............................................(ลุกลี้ลุกลน/ลุกลี้รุกรน) ไม่เรียบร้อยเลย
     ๒. นายชอบ............................................(ผลัดวันประกันพรุ่ง/ผัดวันประกันพรุ่ง) เป็นประจำ
     ๓. ลุงทองดีคิดจะ............................................ (ลามือ/รามือ) จากการเป็นนักเลงเสียที
     ๔. สมภพมักจะ..........................(ปราย/ปลาย) ตาไปทางสมศรีอยู่บ่อยๆ
     ๕. ชัยวัฒน์และญาณีตกลงใจจะ............................................(ร่วมหอลงโรง/ร่วมหอลงโลง) กัน

แบบฝึกตอนที่ ๒: การเขียนสะกดคำผิดเพราะใช้แนวเทียบผิด
          ให้นักเรียนแก้ไขคำที่เขียนสะกดผิดให้ถูกต้องและเขียนคำที่เป็นแนวเทียบที่ทำให้สะกดผิด ลงในช่องว่างที่กำหนดให้

คำสะกดผิด
คำสะกดถูก
คำที่ใช้เป็นแนวเทียบ
บอระเพชร
บอระเพ็ด
เพชร/เพชรพลอย
ดอกจันทร์ (เครื่องหมาย)
ดอกจัน
ดวงจันทร์/พระจันทร์
กำพืช
กำพืด
พืช/วัชพืช
อานิสงฆ์
อานิสงส์
พระสงฆ์
กล้วยบวดชี
กล้วยบวชชี
แกงบวด
ความผาสุข
ความผาสุก
ความสุข
ละคร ๑ องค์
ละคร ๑ องก์
พระองค์/องค์
เนรมิตร
เนรมิตร
มิตร
ภาพยนต์
ภาพยนตร์
รถยนต์/เครื่องยนต์


แบบฝึกตอนที่ ๓: การเขียนสะกดคำผิดเพราะไม่เข้าใจความหมายของคำพ้องเสียง
          นักเรียนนำคำที่กำหนดให้ต่อไปนี้เติมลงในช่องว่างให้ความหมายถูกต้อง
ขรรค์   ขัณฑ์   ขันธ์     ขัน
พรรษ์   พรรณ  พัน       ภัณฑ์   พรรค์   พันธ์     พันธุ์
สรร      สรรค์   สัน       สันต์
๑. อาร์มช่วยหยิบ   ขัน   ตักน้ำให้เราหน่อย
๒. พระพุทธองค์ทรงสั่งสอนพุทธบริษัทเรื่อง   ขันธ์   ห้า
๓. เทวดาถือพระ   ขรรค์   เป็นอาวุธ
๔.                มาจะกล่าวบทไป                   ถึงเด็กน้อยคนัคนขยัน
อยู่ทับแทบป่าพนาวัน                       ชายเขต   ขัณฑ์   พัทลุงพารา
๕.   พัน   หมายถึง ถูกกระหวัด/จำนวนสิบเท่าของหนึ่งร้อย
๖.    พันธ์   หมายถึง เชื่อมโยง เกี่ยวข้อง
๗.    พันธุ์   หมายถึง  วงศ์วาน เชื้อสาย
๘.    พรรณ   หมายถึง สีของผิว
๙.    ภัณฑ์   หมายถึง ของ สิ่งของ
๑๐.    พรรค์   หมายถึง หมู่คนที่รวมกันเข้าเป็นพวกเป็นฝ่าย
๑๑.   พรรษ์   หมายถึง ฝน หรือปี
          ๑๒. ผ้าผืนนั้นสี   สัน   สวยงามเหลือเกิน
          ๑๓. นักออกแบบต้องมีความคิดสร้าง   สรรค์   อยู่เสมอ
          ๑๔.    สันต์   หมายถึง สงบเงียบ
          ๑๕. เราต้องเลือก   สรร   สิ่งที่ดีสำหรับชีวิต

แบบฝึกตอนที่ ๔: การเขียนสะกดคำผิดเพราะมีประสบการณ์มาผิด
          นักเรียนขีดเส้นใต้คำที่เขียนสะกดคำผิดและแก้ให้ถูกต้อง ลงในช่องว่างที่กำหนดให้

ตัวอย่างประโยค
คำที่สะกดถูกต้อง
๑. อาหารจานนี้รสชาติไม่ดีเลยกลิ่นก็ไม่น่าพิศมัย
พิสมัย
๒. เลือดในกายเรานี้สีแดงชาติ เกียรติองอาจปรากฏอยู่คู่แผ่นดิน
ชาด
๓. การทำงานแกะสลักต้องอาศัยความปราณีตสูง
ประณีต
๔. คนเราเกิดมาต้องต่อสู้ไขว่คว้า มิใช้จะรอประสพแต่โชคดีถ่ายเดียว
ประสบ
๕. หากบ้านเมืองสอาดตาก็ย่อมก่อให้เกิดความผาสุกแก่ประชาชน
สะอาด
๖. ตามประวัติศาสตร์ โรคภูมิแพ้ที่รุนแรงเป็นผลจากเกษรของดอกไม้
เกสร
๗. ฉันอยากดูโทรทัศน์รายการอาถรรพวันศุกร์จังเลย
อาถรรพ์/อาถรรพณ์

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น